เทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล งานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

วันนี้ผมมีเทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล สำเร็จรูปเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็ถือได้ว่าความสำคัญของเทคนิคนี้มีอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียวมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ

นั่นก็คือผมจะมาให้คำแนะนำว่าเราไม่ควรที่จะใช้โครงสร้าง คสล ในกรณีที่ทางสถาปนิกเลือกทำการออกแบบให้ในตัวบ้านหรืออาคารนั้นมีการตกแต่งด้วยปูนปั้น โดยเฉพาะยิ่งปูนปั้นขนาดใหญ่ๆ ด้วยแล้วยิ่งไม่ควรใช้งาน คสล แต่ให้เลือกใช้เป็นวัสดุผสมอื่นๆ แทนจะดีกว่า อย่างเช่น โครงสร้างไฟเบอร์เสริมด้วยใยแก้ว หรือ ที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า GRC ซึ่งเป็นคำที่ย่อมาจาก GLASS FIBER REINFORCED CONCRETE เป็นต้นนะครับ

micropile-micro-pile-spunmicropile-microspun-spunpile-microspun micropile-micro-pile-spunmicropile-microspun-spunpile-microspun

สาเหตุที่ผมแนะนำเช่นนี้เพราะว่าสวนใหญ่แล้วชิ้นส่วนสำเร็จรูปที่มีขนาดใหญ่ๆ นั้นจะต้องถูกหล่อออกมาเป็นชิ้นส่วนสั้นๆ แล้วนำเอามาต่อๆ กันเพื่อให้ได้ความยาวตามที่สถาปนิกได้ทำการออกแบบเอาไว้ ทั้งนี้ชิ้นส่วน คสล นั้นจะมีอัตราการให้ตัวได้ที่ค่อนข้างจะน้อยมากๆ ผนวกกับการที่น้ำหนักตัวของชิ้นส่วนโครงสร้างเองนั้นก็มีขนาดที่มากตามรูปร่างด้วย พอนำมาประกอบเข้าด้วยกันเมื่อใดก็หลีกเลี่ยงการที่จะเกิดรอยร้าวให้เห็นตามรอยต่อต่างๆ ได้ยากมากๆ เลยนะครับ

micropile-micro-pile-spunmicropile-microspun-spunpile-microspun

ซึ่งสาเหตุที่ผมได้ให้คำแนะนำไปว่าเราควรที่จะเลือกใช้วัสดุผสมอื่นๆ ทดแทนชิ้นส่วนโครงสร้าง คสล เช่น โครงสร้างไฟเบอร์เสริมด้วยใยแก้ว เป็นต้น นั่นก็เป็นเพราะว่าน้ำหนักของชิ้นส่วนโครงสร้างเองนั้นมีขนาดที่น้อยกว่างาน คสล นั่นเป็นเพราะมีการใช้ไฟเบอร์เสริมด้วยใยแก้วที่มีมวลน้ำหนักแทนที่ของเหล็กเสริมโครงสร้างที่มีมวลน้ำหนักที่ค่อนข้างจะมาก พอนำมาประกอบเข้าด้วยกันเมื่อใดเราก็พบว่าจะสามารถช่วยหลีกเลี่ยงการที่จะทำให้เกิดรอยร้าวตามรอยต่อต่างๆ ได้ดีกว่าการใช้งานชิ้นส่วนโครงสร้าง คสล มากๆ เลยละครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ

Bhumisiam ภูมิสยาม
ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile
1) ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015
2) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 UKAS ภายใต้การดูแลของ อังกฤษ
3) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 NAC ภายใต้การดูแลของ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
4) ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็ม Spun MicroPile Dia 21, 25, 30 cm.
5) ผู้ผลิต Spun MicroPile ที่ได้รับ Endorsed Brand รับรองคุณภาพมาตรฐานจาก SCG
6) ผู้นำระบบ Computer ที่ทันสมัยผลิต เสาเข็ม Spun MicroPile
7) ลิขสิทธิ์เสาเข็ม Spun MicroPile
8) เทคโนโลยีการผลิต จากประเทศเยอรมัน
9) ผู้ผลิต Spun MicroPile แบบ “สี่เหลี่ยม”
10) การผลิตคอนกรีตและส่วนผสม ใช้ Program SCG-CPAC

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ช่วยแก้ปัญหาได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
Mr.Micropile

สนใจติดต่อสินค้า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โทร
081-634-6586
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449

#ไมโครไพล์ #สปันไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #เสาเข็มสปันไมโครไพล์ #เสาเข็ม #ตอกเสาเข็ม #micropile #spunmicropile #microspunpile #spunpile #microspun