บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เกี่ยวกับบริษัท-มาตรฐานทีมช่างและเครื่องจักร

มาตรฐาน ทีมช่างและเครื่องจักร มาตรฐาน การฝึกอบรม ทีมช่าง มาตรฐาน เครื่องจักร (ปั้นจั่น) ใบรับรอง ปจ.2 มาตรฐาน เครนรถบรรทุกขนส่ง ใบรับรอง ปจ.2 มาตรฐาน ช่างเชื่อม พร้อมใบ Certificate มาตรฐาน ผู้ควบคุมปั้นจั่น … Read More

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นในคอนกรีตสามารถอาจสามารถที่จะสรุปได้ดังนี้ 1) วัตถุดิบและสัดส่วนการผสมคอนกรีต อัน ได้แก่ วัสดุมวลรวม ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยาผสมคอนกรีต – วัสดุมวลรวม ได้แก่ หิน ทราย แร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ รูปร่างลักษณะของผิวและส่วนคละของวัสดุมวลรวมมีผลต่อการออกแบบส่วนผสม สัมประสิทธิ์การนำความร้อน DRYING … Read More

ตอบปัญหาการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดโดยพิจารณาจากขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มในการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินที่อยู่ข้างล่างและโครงสร้างเสาเข็มนั้นมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 300 MM ทั้งนี้ผมจะขอสมมติว่าในขั้นตอนการคำนวณนี้เป็นเพียงขั้นตอนในการคำนวณออกแบบเริ่มแรกซึ่งยังไม่ได้มีการคำนวณหาระยะความหนาของฐานรากออกมา หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างฐานรากนี้โดยที่ผมจะอาศัยสมมติฐานว่าฐานรากของผมนั้นเป็นแบบ  … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุม ของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ในวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาตัวอย่างของการคำนวณเรื่องเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิดเอามาฝากแก่เพื่อนๆ กันอีกสักหนึ่งโพสต์ก็แล้วกันและเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาเริ่มต้นดูกรณีของการเสริมเหล็กในครั้งนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ผมมีพื้นๆ หนึ่งที่มีการเสริมเหล็กใน 1 ชั้น ซึ่งเหล็กบนจะเท่ากับ DB12mm@150mm ส่วนเหล็กล่างจะเท่ากับ DB12mm@200mm … Read More

1 8 9 10 11 12 13 14 207