บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ความสำคัญของขั้นตอนการทดสอบคุณสมบัติของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่เพื่อนแฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวว่า   “จากที่อ่านบทความของผมมาโดยตลอดผมจะสังเกตได้ว่าคุณดีนพูดอยู่บ่อยๆ ว่าควรที่จะทำการเจาะสำรวจดินในทุกๆ โครงการก่อสร้าง เพื่อที่เราจะได้ทราบค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดิน คำถามก็คือ หากเราเป็นผู้ออกแบบหรือผู้รับเหมาที่จะต้องทำงานให้แก่เจ้าของบ้านที่ว่าจ้างเราแต่ทางเจ้าของบ้านไม่มีความเข้าใจว่าขั้นตอนในการทดสอบดินนั้นมีความสำคัญอย่างไร เราควรที่จะทำอย่างไรดีครับ?” … Read More

โครงสร้างโครงข้อแข็ง หรือ RIGID FRAME STRUCTURE โดยวิธี CASTIGLIANO’S 2’ND THEOREM

วิธีในการคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปของ โครงสร้างโครงข้อแข็ง หรือ RIGID FRAME STRUCTURE โดยวิธี CASTIGLIANO’S 2’ND THEOREM ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทดสอบดูซิว่าเพื่อนๆ ทุกคนจะมีความเข้าใจและสามารถนำหลักการที่ผมได้อธิบายไปประยุกต์ใช้ได้ดีเพียงใด โดยที่ปัญหาที่ผมจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้มาร่วมสนุกตอบคำถามประจำสัปดาห์ไปด้วยกันนั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ในรูปๆ นี้จะเป็นรูปโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีการรับน้ำหนักกระทำแบบแผ่กระจายตัวสม่ำเสมอในแนวดิ่งหรือว่า VERTICAL UNIFORMLY … Read More

ต่อเติมฐานราก ภายในอาคาร โดย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. BSP-Bhumisiam ครับ

  ต่อเติมฐานราก ภายในอาคาร โดย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. BSP-Bhumisiam ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานสร้างบ้านใหม่ หรือ ต่อเติมอาคาร บ้าน อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติมต่อเติม ภายในอาคาร … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานรากจากงานในอดีตของผมเองให้แก่เพื่อนได้รับทราบกันนะครับ เผื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ต่อจากโพสต์เมื่อวานกันอีกสัก 1 โพสต์นะครับ ก่อนอื่นเรามาดูรูปประกอบกันก่อนนะครับ ในรูปปัญหาที่ผมไปพบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต โดยที่ฐานรากยังเป็นฐานรากจม แต่ ปัญหาที่เรามักพบสำหรับกรณีนี้ … Read More

1 159 160 161 162 163 164 165 207