บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

หลักการพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงหลักการพื้นฐานที่เราใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง ซึ่งเป็นหลักการง่ายๆ ที่มีความตรงไปตรงมา แต่ ถือว่ามีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์โครงสร้างมากๆ นะครับ นั่นก็คือเรื่องทฤษฎีของ SUPERPOSITION นั่นเองครับ หลักการของ SUPERPOSITION เป็นแนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีของการวิเคราะห์โครงสร้าง โดยที่มีข้อกําหนดว่าในการแอ่นตัว และ หมุนตัว (DISPLACEMENT) และ … Read More

จะตอกเสาเข็ม ภายในอาคาร แนะนำใช้ SPUN MICROPILE เพราะ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ครับ

จะตอกเสาเข็ม ภายในอาคาร แนะนำใช้ SPUN MICROPILE เพราะ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ครับ เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน ต่อเติมหน้าหลังบ้าน … Read More

สาเหตุของการเกิดการแตกร้าวของคอนกรีต เนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก (PLASTIC SHRINKAGE CRACKING)

การแตกร้าวของถนนนั้นมักจะเกิดขึ้นขณะที่คอนกรีตกำลังแข็งตัวหรือเป็นที่รู้จักกันในเชิงวิชาการคอนกรีตว่า การแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก (Plastic Shrinkage Cracking) ซึ่งนอกจากมีโอกาสสูงที่จะเกิดกับงานถนนแล้วยังเกิดกับงานประเภทพื้นที่อยู่กลางแจ้งอื่นได้อีกด้วย อาทิ พื้นนอาคาร, ดาดฟ้าและลานประเภทต่างๆ เป็นต้น การแตกร้าวในลักษณะน้ีจะไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ต่างกับการแตกร้าวเนื่องจากคอนกรีตหดตัวแบบแห้งซึ่งจะเป็นเส้นค่อนข้างตรง และยาว ที่มักจะเกิดข้ึนเมื่อไม่มีการตัดรอยต่อที่ถูกต้อง สาเหตุของการแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก การที่คอนกรีตเกิดการแตกร้าวแบบนี้มีสาเหตุมาจากคอนกรีตหดตัวอย่างเฉียบพลันในช่วงที่ยังอยู่ในสภาพยังไม่แข็งตัว (Pre-hardened Stage) ซึ่งคอนกรีตในช่วงนี้แทบจะไม่มีความสามารถในการรับแรงเค้นที่เกิดจากแรงดึง (Tensile … Read More

เหล็กเสริมคอนกรีต (REINFORCED STEEL BAR)

เหล็กเส้น (Rebar) ใช้สำหรับนำมาเสริมคอนกรีตในบริเวณที่รับแรงดึงหรือต้านทานการแตกร้าวในคอนกรีต แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ (Round Bar, RB) และ เหล็กข้ออ้อย (Deformed Bar, DB) เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ (Round Bar, RB) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 20-2543 … Read More

1 187 188 189 190 191 192 193 207