บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้และทำการอธิบายเรื่องค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินในส่วนที่ผมได้ค้างเอาไว้ให้แก่เพื่อนทุกๆ คนนะครับ   อย่างที่ผมเรียนไปในการโพสต์ก่อนหน้านี้นะครับว่าหลายๆ ครั้งในการแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างฐานราก ซึ่งจะพบว่าในหลายๆ ครั้งเราเองมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตั้งสมมติฐานว่าดินนั้นจะมีคุณลักษณะเป็นเหมือนวัสดุยืดหยุ่นอื่นๆ นะครับ … Read More

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) หน่วยงาน ปตท.สถานีก๊าซธรรมชาติหลัก เทพารักษ์

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) หน่วยงาน ปตท.สถานีก๊าซธรรมชาติหลัก เทพารักษ์ เป็นงานตอกเสาเข็มระยะใกล้กับถังเก็บก๊าชธรรมชาติ ซึ่งสามารถการันตีเรื่องแรงสั่นสะเทือนขณะตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้เป็นอย่างดี    

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F2 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

การเตรียมตัวสอบเพื่อใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันเสาร์และอาทิตย์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่ปัญหานั้นเกี่ยวข้องกันกับการวิเคราะห์โครงสร้างโครงข้อแข็งที่ไม่สามารถจะทำการวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีการอย่างง่ายหรือ INDETERMINATE RIGID FRAME นั่นเอง มีรุ่นน้องท่านหนึ่งที่ติดตามการโพสต์ของผมได้อินบ็อกซ์เข้ามาในเฟซบุ้คส่วนตัวของผมพร้อมกับแจ้งมาว่า   “ผมติดตามบทความของพี่มาโดยตลอด ต้องขอบคุณพี่ด้วยนะครับ ยังไงรบกวนพี่ช่วยตอบคำถามของผมด้วยเพราะผมได้ทำการวิเคราะห์โครงสร้างตามปัญหาที่พี่ได้ตั้งขึ้นโดยใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ XXX ผลปรากฏว่าได้คำตอบคลาดเคลื่อนออกไปจากของพี่ … Read More

1 196 197 198 199 200 201 202 207