บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มต่อเติมอาคาร ต่อเติมข้างๆโรงงาน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ดีอย่างไรครับ?

บางคนอาจจะสงสัยว่า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ดีตรงไหน Mr.เสาเข็ม พร้อมตอบคำถามนี้ให้ทันทีเลยครับ เพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ของ BSP Bhusiam คุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ทดสอบโดย … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างโดยการใช้ซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   ปัญหาในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับปัญหาเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างโดยการใช้ซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT นะครับ   สืบเนื่องมาจากการที่เมื่อช่วงเวลาสักพักใหญ่ก่อนหน้านี้ ได้มีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพมากๆ ท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาสอบถามกับผมโดยมีใจความของคำถามว่า   “อยากให้ผมนั้นช่วยให้คำแนะนำถึงวิธีในการในการที่เราจะใส่ VERTICAL DISTRIBUTED LOAD … Read More

ต่อเติมข้างโรงงาน ต่อเติมภายในโรงงาน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE

ต่อเติมข้างโรงงาน ต่อเติมภายในโรงงาน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-40 ตัน และเสาเข็มมีหลายขนาด 21, 23, 25, 30 ซม. และที่สำคัญ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทำงานเสร็จใว – … Read More

ความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามมาหลังไมค์กับผมว่า “มีความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะดังรูป โดยจะเห็นได้ว่ามีเสาเข็มเจาะต้นเล็ก (เส้นประสีดำ) นั้นวางซ้อนตัวอยู่ภายในเสาเข็มเจาะต้นใหญ่ (เส้นประสีแดง) อยากสอบถามผมว่ากรณีของเสาเข็มดังรูปนี้ถือว่าใช้ได้หรือไม่ครับ?” ก่อนอื่นเลย ผมต้องขอออกตัวเอาไว้ก่อนเลยว่า … Read More

1 197 198 199 200 201 202 203 207