ภูมิสยามฯ ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ทดสอบ Dynamic Load Test วิศวกรมั่นใจแนะนำใช้ ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด
ภูมิสยามฯ ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ทดสอบ Dynamic Load Test วิศวกรมั่นใจแนะนำใช้ ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย … Read More
การเลือกขนาดของความหนาของเหล็กแผ่นที่เหมาะสม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสออกไปทำการตรวจงานการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและได้มีการพูดคุยกับวิศวกรที่หน้างาน ซึ่งทางวิศวกรท่านนี้ได้สอบถามคำถามๆ หนึ่งซึ่งผมคิดว่ามีความน่าสนใจนั่นก็คือ “เพราะเหตุใดผมจึงได้เลือกทำการออกแบบและกำหนดให้มีการใช้เหล็กแผ่นที่ค่อนข้างจะมีความหนามากสักหน่อยในการก่อสร้างโครงสร้างส่วนที่เป็น CANOPY บริเวณภายนอกของอาคาร โดยจะสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเหล็กแผ่นส่วนนี้จะมีขนาดของความหนามากกว่าตรงส่วนอื่นๆ ค่อนข้างมากเลยครับ ?” ก่อนอื่นผมต้องขอชมเชยวิศวกรท่านนี้นะว่าคำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดีและมีความน่าสนใจมาก … Read More
โครงสร้างพื้น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่โพสต์ในวันนี้ของผมๆ จำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการคั่นการกล่าวถึงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง โครงสร้างพื้น ต่อเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วด้วยเนื้อหาในวันนี้สักหน่อยเพราะว่ามีประเด็นเรื่องความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนออกไปของเพื่อนสมาชิกแฟนเพจบางท่านเกี่ยวกับหัวข้อๆ หนึ่งที่ผมเคยได้โพสต์อธิบายไปก่อนหน้านี้ ซึ่งผมก็ต้องขอกล่าวย้อนไปถึงโพสต์ก่อนหน้านี้เมื่อช่วงต้นปีที่ผ่านมาซึ่งก็คือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ที่ผมได้โพสต์รูปเสาเหล็กพร้อมกับเหล็กแผ่นพร้อมกับเนื้อความในโพสต์ว่า โครงสร้างเสาเหล็กในรูปที่แสดงนั้นได้ถูกทำการยึดและติดตั้งลงไปบนเหล็กแผ่นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเราจะสามารถเห็นว่ามีช่องว่างเหลืออยู่ได้ด้วยตาเปล่าเลยซึ่ง “ตามปกติ” แล้วในแบบวิศวกรรมโครงสร้างจะมีการระบุให้ทำการเติมช่องว่างเหล่านี้ให้เต็มโดยใช้วัสดุจำพวก … Read More
การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้อธิบายข้อสอบใบประกอบวิชาชีพที่ออกโดยสภาวิศวกรเรื่อง พฤติกรรมการรับแรงของโครงสร้างโครงถัก ว่าเราสามารถที่จะสังเกตดูว่า แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้างโครงถักใดที่เป็น แรงดึง (TENSION FORCE) หรือ แรงอัด (COMPRESSIOB … Read More