ต้องการเสาเข็มต่อเติมบ้าน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50ซม.
ต้องการเสาเข็มต่อเติมบ้าน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50ซม. ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน หลังบ้าน หรือข้างบ้าน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มถึงกำแพง … Read More
ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด
ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด จะต่อเติมบ้าน ควรตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติม และเพื่อไม่ให้มีผลเสียเกิดขึ้นกับตัวบ้านในภายหลัง เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีต (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและพื้นที่ใกล้เคียง สามารถป้องกันการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างได้ตรงจุด และยังเสริมความแข็งแรงให้กับตัวโครงสร้างเดิม เสาเข็มได้รับมาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO … Read More
แนะนำเสาเข็มที่เหมาะกับงานต่อเติม ฉบับผู้เชี่ยวชาญเรื่องเสาเข็ม
แนะนำเสาเข็มที่เหมาะกับงานต่อเติม ฉบับผู้เชี่ยวชาญเรื่องเสาเข็ม เสาเข็ม คือ วัสดุก่อสร้างประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญมากในการแบกรับน้ำหนักของโครงสร้างอาคาร เพราะน้ำหนักจะถ่ายเทลงไปสู่เสาเข็มจากนั้นเสาเข็มจะถ่ายเทน้ำหนักที่ได้รับกระจายลงสูุ่พื้นดิน โดยแรงเสียดทานระหว่างผิวของเสาเข็มกับดิน และแรงต้านจากปลายเข็มของชั้นดินแข็ง เสาเข็มจึงเป็นส่วนสำคัญอยากมาก หากไม่มีเสาเข็มค่อยรับน้ำหนักของโครงสร้างอาคาร แล้ววางแค่ตัวอาคารไว้เพียงอย่างเดียวจะทำให้ดินทรุดตัวลงไปเรื่อย ๆ แต่ถ้าอาคารมีเสาเข็มก็จะช่วยให้เกิดแรงต้านน้ำหนักได้ สามารถช่วยชะลอการทรุดตัวของโครงสร้างไว้ได้นาน เสาเข็มที่จะนำมาใช้ในงานต่อเติมอาคารประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่อาคารขนาดเล็ก ขนาดกลาง จนไปถึงขนาดใหญ่ ต้องมีขนาดที่สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวกและมีความมั่นคงแข็งแรงสูง … Read More
วิธีในออกแบบและก่อสร้าง ชิ้นส่วนที่คอยทำหน้าที่ค้ำยันทางด้านข้าง แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนซึ่งผมก็ได้ทำการอธิบายไปในเบื้องต้นแล้วว่า สาเหตุที่เจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติเป็นเพราะตอนที่ช่างที่ทำหน้าที่ในการติดตั้งโครงสร้างโครงหลังคาเหล็กนั้นทำการก่อสร้างโดยขาดความรู้และประสบการณ์ในการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองเพราะตามปกติแล้ววิศวกรผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบ มักจะทำการออกแบบโดยกำหนดให้ชิ้นส่วนซึ่งจะคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนั้นเป็นโครงสร้างโครงถักเหล็กตัวรองหรือ SUB-TRUSS … Read More