การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ สืบเนื่องจากการที่ก่อนหน้านี้มีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพของผมท่านหนึ่งได้โพสต์ถามกับผมมาหลังไมค์ว่า “ในกรณีที่คานรับแรงดัดของเรานั้นมีหน้าตัดที่ไม่คงที่ เช่น มีเล็กบ้าง ใหญ่บ้าง ในช่วงคานเดียวกัน จะเกิดผลอย่างไร และ ควรที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างและทำการออกแบบอย่างไรครับ ?” ซึ่งจริงๆ ผมก็ได้สรุปโดยให้คำแนะนำกับพี่ท่านนี้ไปแล้วว่า … Read More

การทดสอบหากำลังอัดของคอนกรีต (CONCRETE COMPRESSIVE STRENGTH) ในโครงสร้างอาคารเดิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อ 2-3 วันก่อน มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้มาปรึกษากับผมเรื่อง การทดสอบหากำลังอัดของคอนกรีต (CONCRETE COMPRESSIVE STRENGTH) ในโครงสร้างอาคารเดิม … Read More

จุดหมุนพลาสติก (PLASTIC HINGE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมเกี่ยวกับเรื่อง การฝังยึดโครงสร้าง เสา คสล ในจุดรองรับแบบต่างๆ กัน ซึ่งในโพสต์ๆ นั้นมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับประเด็นๆ หนึ่งที่มีเพื่อนของเราท่านหนึ่งมีความสนใจพอดี … Read More

เรียน วิชาแคลคูลัส ไปเพื่ออะไร ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ งานวิศวกรรมโครงสร้างทั่วไป (MISCELLANEOUS STRUCTURAL ENGINEERING หรือ MSE) นะครับ เมื่อเร็วๆ นี้ผมบังเอิญเดินผ่านไปได้ยินน้องๆ ที่เรียนในสาขาวิศวกรรมโยธาที่บางมดเค้านั่งคุยกันที่ใต้ตึก CB5 ว่าด้วยเรื่อง วิชาแคลคูลัส ว่าเรียนไปเพื่ออะไร ? ใครเรียนแล้วได้นำไปใช้ในชีวิตจริงๆ บ้าง ? จริงๆ … Read More

วิธีการและรายละเอียด การคำนวณในเรื่องเหล็กปลอก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) โดยที่ในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับงาน การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE DESIGN) นั่นเองนะครับ มีคำถามที่ได้ฝากมาจากเพื่อนของผมในเฟซบุ้คและในชีวิตจริงด้วยท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบหน้าตัดเหล็กปลอกในเสา คสล ว่า “ผมพอที่จะเข้าใจถึงหลักในการออกแบบเหล็กยืนในหน้าตัดเสา … Read More

ต้องการที่จะออกแบบให้เสาเข็ม สามารถรับแรงถอน (PULLOUT FORCE) ได้ มีวิธีในการออกแบบเสาเข็มอย่างไรบ้าง ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งฝากคำถามเอาไว้หลังไมค์ว่า “หากผมต้องการที่จะออกแบบให้เสาเข็มนั้นสามารถที่จะรับแรงถอน (PULLOUT FORCE) ได้ ไม่ทราบว่าจะมีวิธีในการออกแบบเสาเข็มอย่างไรได้บ้างครับ ?” ด้วยความยินดีครับ พูดง่ายๆ … Read More

การออกแบบบันไดภายนอก (EXTERIOR STAIRCASE) ในตัวอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสออกแบบอาคารสูงอยู่หลังหนึ่ง และ ได้มีจังหวะหลังการประชุมงานนั่งทานกาแฟและพูดคุยกับสถาปนิกผู้ออกแบบในโครงการนั้นๆ เราได้แลกเปลี่ยนข้อมูลและมุมมองในการออกแบบซึ่งกันและกัน และ ตัวของผมเองได้รับทราบข้อมูลดีๆ และ น่าที่จะเป็นประโยชน์ต่องานออกแบบต่อๆ ไปของตัวผมเอง … Read More

สร้างอาคารใหม่ แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524

สร้างอาคารใหม่ แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 จะขยายโรงงาน หรือจะสร้างอาคารใหม่ ต้องการเสาเข็มที่มีคุณภาพมาตรฐานสูง เพื่อฐานรากอาคารที่มั่งคงแข็งแรง แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ โดยภูมิสยาม เสาเข็มมีความแข็งแรง เพราะมีโครงเหล็กฝั่งอยู่ในเนื้อคอนกรีตที่หนาแน่นจากการสปัน ทำให้เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง เพื่อการระบายดิน ส่งผลกระทบน้อยมากต่อโครงสร้างใกล้เคียงขณะตอก เสาเข็มที่ได้คุณภาพมาตรฐาน … Read More

ความแข็งแกร่ง (STIFFNESS) ของโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามที่ผมได้เชิญชวนเพื่อนๆ มาร่วมสนุกกันเมื่อวานซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อ “ความแข็งแกร่ง” (STIFFNESS) ของโครงสร้างนะครับ ปรากฏว่ามีเพื่อนๆ ที่รักของเราร่วมสนุกกันมาหลายคนเหมือนกันนะครับ และ ส่วนใหญ่ก็ตอบถูกกันเสียด้วย ยังไงผมต้องขอขอบคุณเพื่อนๆ ทุกๆ คนมากๆ ที่ได้ร่วมสนุกกันนะครับ … Read More

ระดับของการสั่นสะเทือน ที่ยอมให้นำมาใช้ในการออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ สืบเนื่องจากการที่มีน้องๆ ได้แจ้งความจำนงมาที่หลังไมค์ว่า อยากให้ผมได้นำเสนอและเล่าถึงเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบทางด้านพลศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร (DESIGN OF MACHINE FOUNDATION) ให้ได้รับทราบกันบ้าง ตัวของผมเองก็เล็งเห็นว่าน่าที่จะมีประโยชน์ จึงคิดว่ามีความคุ้มค่าที่จะสละเวลามาเล่าและแชร์ความรู้ในเรื่องๆ นี้ให้แก่น้องๆ … Read More

1 23 24 25 26 27 28 29 83