ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นในคอนกรีตสามารถอาจสามารถที่จะสรุปได้ดังนี้ 1) วัตถุดิบและสัดส่วนการผสมคอนกรีต อัน ได้แก่ วัสดุมวลรวม ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยาผสมคอนกรีต – วัสดุมวลรวม ได้แก่ หิน ทราย แร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ รูปร่างลักษณะของผิวและส่วนคละของวัสดุมวลรวมมีผลต่อการออกแบบส่วนผสม สัมประสิทธิ์การนำความร้อน DRYING … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE มีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ NON-SHRINK GROUT ประเภทที่ 2 แบบที่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หากสังเกตดูจากรูป ใต้เหล็กแผ่นจะมีการเทให้เต็มด้วย NON-SHRINK … Read More

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต

เพราะเหตุใด?? เสาเข็มไมโครไพล์ ของภูมิสยามจึงจะต้องอาศัยกระบวนการในการหล่อคอนกรีตโดยการให้แรงเหวี่ยง หลักการพื้นฐานของการตอกเสาเข็มคือ การทำให้ “พลังงาน” หรือ “ENERGY” แก่โครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการ “ตอก” เสาเข็มลงไปในดิน ซึ่ง “ปริมาณ” ของพลังงานที่จะทำการใส่ลงไปในดินนั้นจะมีค่าที่ มาก หรือ น้อย ก็จะขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่น … Read More

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต

คอนกรีตทนน้ำเค็ม คุณสมบัติ ในน้ำเค็มจะมีสารประกอบหลักที่สำคัญคือคลอไรด์ โดยทั่วไปจะประกอบไปด้วยโซเดียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอไรด์ แคลเซียมคลอไรด์ ดังนั้น ในการออกแบบคอนกรีตทนน้ำเค็ม จึงอาศัยหลักการป้องกันการซึมผ่านของสารครอไรด์ และการจับยึด ไม่ให้คลอไรด์เข้าไปทำปฏิกิริยากับเหล็กเสริมจนเป็นสนิม โดยทั่วไป สามารถแบ่งสภาพแวดล้อม การสัมผัสกับบรรยากาศทะเล ของโครงสร้างคอนกรีตได้สี่สภาวะดังนี้ + สภาวะที่ 1 โครงสร้างสัมผัสกับไอทะเล + … Read More

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต ก่อนการเทคอนกรีตทุกครั้ง ควรต้องทำการตรวจสอบค่าการยุบตัวของ ตัวอย่างคอนกรีต ซึ่งการทดสอบอาจปฏิบัติตามวิธีการที่ได้มีระบุเอาไว้ในมาตรฐาน ASTM C143/C143M ในภาษาอังกฤษ คือ STANDARD TEST METHOD FOR SLUMP OF HYDRAULIC-CEMENT CONCRETE โดยเมื่อทำการเก็บ ตัวอย่างของคอนกรีตมาทำการทดสอบแล้ว … Read More

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา” ในทุกงานก่อสร้างย่อมต้องเจอกับปัญหา ไม่ว่าจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่ เพราะงานก่อสร้างจำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบริหาร ผู้ควบคุมงาน หัวหน้าคนงาน คนงาน ผู้รับเหมาหลัก ผู้รับเหมาย่อย ผู้ควบคุมงาน ผู้จัดการโครงการ เป็นต้น ยกตัวอย่างปัญหาที่เกิดจาก … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM)

 การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM) แกนหลักของชิ้นส่วนโครงสร้างเป็นจุดต่อที่เรามักจะใช้ในการจำแนกประเภทของแรงต่างๆ ที่กระทำอยู่บนแกนหลักของหน้าตัด – เริ่มจากในแกน x ลักษณะสำคัญของแรง ๆ นี้ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” เกร็ดความรู้เกี่ยวกับลวดเหล็กตีเกลียวสำหรับที่ใช้ในงานคอนกรีตอัดแรงชนิดเจ็ดเส้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ สืบเนื่องจากช่วงนี้ผมมีงานออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างประเภทพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงเหล็กทีหลังหรือ POST-TENSIONED CONCRETE SLAB อยู่ในหลายๆ โครงการก่อสร้างเลยทำให้ผมต้องหมกตัวอยู่กับรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างประเภทนี้ นั่นจึงทำให้ผมนึกถึงรายละเอียดๆ หนึ่งขึ้นได้ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่ทราบกันว่า ภายในลวดอัดแรงชนิดลวดเหล็กตีเกลียวสำหรับที่ใช้ในงานคอนกรีตอัดแรงชนิด … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” รูปแบบของโครงสร้างหลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นในการรับแรงที่มีความน่าสนใจ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณช่วงประมาณปลายปีที่แล้วที่ผมได้พาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับคุณลักษณะต่างๆ ของจุดต่อที่สามารถจะแบ่งออกได้ตามประเภทหลักๆ ของ โครงสร้างของหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE ทั้ง 3 ประเภทซึ่งจะประกอบไปด้วย … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ความยากง่ายในการวิเคราะห์โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการไขข้อข้องใจกับปัญหาๆ หนึ่งที่ผมเคยได้ถูกสอบถามเข้ามาหลายครั้งแล้วว่า ระหว่างการวิเคราะห์ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เปรียบเทียบกันกับการวิเคราะห์ โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โครงสร้างแบบใดที่จะสามารถทำการวิเคราะห์โครงสร้างออกมาได้ง่ายหรือยากกว่ากัน? ผมขอตอบแบบกว้างๆ แบบนี้ก็แล้วกันว่า เนื่องจากว่าการที่โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กนั้นถือได้ว่าเป็นโครงสร้างประเภทวัสดุผสมหรือ COMPOSITE MATERIAL … Read More

1 2 3 4 33