การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้มาทำการอธิบายและยก ตย ให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบถึงเรื่อง ระยะการเสริมเหล็กในเหล็กเสริมที่ทำหน้าที่ป้องกันการวิบัติแบบต่อเนื่อง (PROGRESSIVE COLLAPSE REINFORCEMENT) กันไป … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรออกแบบมือใหม่ท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “สังเกตดูพี่ๆ วิศวกรรุ่นใหญ่ๆ ในออฟฟิศเวลาทำการออกแบบคาน คสล หรือ เหล็ก ก็ตามเหตุใดพอพี่ๆ เค้าทำการรวม นน บรรทุกแบบแผ่ (DISTRIBUTED … Read More

ความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามมาหลังไมค์กับผมว่า “มีความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะดังรูป โดยจะเห็นได้ว่ามีเสาเข็มเจาะต้นเล็ก (เส้นประสีดำ) นั้นวางซ้อนตัวอยู่ภายในเสาเข็มเจาะต้นใหญ่ (เส้นประสีแดง) อยากสอบถามผมว่ากรณีของเสาเข็มดังรูปนี้ถือว่าใช้ได้หรือไม่ครับ?” ก่อนอื่นเลย ผมต้องขอออกตัวเอาไว้ก่อนเลยว่า … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากว่าเมื่อวานนี้ช่วงเย็นๆ ได้มีประเด็นคำถามด่วนที่ถูกฝากเข้ามาผ่าน CEO หนุ่มสุดหล่อแห่งภูมิสยามว่า “หากว่าเราจะทำการเปรียบเทียบความสามารถในการรับแรงถอน (PULL OUT FORCE) ของตัวเสาเข็ม ระหว่างชนิด … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ คือ กรณีที่เพื่อนๆ มีความจำเป็นที่จะต้องทำการเจาะ หรือ ทำช่องเปิดบนโครงสร้างคอนกรีต ไม่ว่าโครงสร้างๆ นั้นจะเป็นโครงสร้าง … Read More

ขนาดของอุโมงค์ลม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง “อุโมงค์ลม” ไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดต่อถึงหัวข้อนี้กันเพิ่มเติมในหัวข้อ “ขนาด” ของอุโมงค์ลมกันอีกสักนิดก็แล้วกันนะครับ สาเหตุที่ผมนำประเด็นๆ นี้มาพูดเพิ่มเติม … Read More

อุโมงค์ลม หรือ WIND TUNNEL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน บรรทุกทางด้านข้างประเภท แรงลม (WIND LOAD) ให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้วก็พบว่ามีคำถามเข้ามาที่ผมมากมายว่า หากว่าเราไม่มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้มารองรับว่า … Read More

หลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง 3 รูปแบบนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันต่อจากโพสต์ของเมื่อ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ หากว่าเพื่อนๆ ที่เป็น วิศวกรโครงสร้าง หรือ วิศวกรเทคนิคธรณี จะต้องทำการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) หรือ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาเมื่อต้องมีการทำช่องเปิดใน แผ่นพื้น หรือ ผนัง คสล หล่อในที่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำแก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก และ ยังถือได้อีกว่ากรณีๆ นี้เป็นกรณีที่ผู้ทำการก่อสร้างอาจที่จะพบเจอได้บ่อยมากๆ เมื่อต้องทำงานโครงสร้าง คสล อีกด้วย … Read More

1 24 25 26 27 28 29 30 83