บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มต่อเติมอาคาร ต่อเติมข้างๆโรงงาน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ดีอย่างไรครับ?

บางคนอาจจะสงสัยว่า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ดีตรงไหน Mr.เสาเข็ม พร้อมตอบคำถามนี้ให้ทันทีเลยครับ เพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ของ BSP Bhusiam คุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ทดสอบโดย … Read More

ขนาดของอุโมงค์ลม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง “อุโมงค์ลม” ไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดต่อถึงหัวข้อนี้กันเพิ่มเติมในหัวข้อ “ขนาด” ของอุโมงค์ลมกันอีกสักนิดก็แล้วกันนะครับ สาเหตุที่ผมนำประเด็นๆ นี้มาพูดเพิ่มเติม … Read More

ภูมิสยามฯ บุคคลตัวอย่างภาคธุรกิจวัสดุก่อสร้างแห่งปี 2018 — ข่าวคมชัดลึก

ภูมิสยามฯ บุคคลตัวอย่างภาคธุรกิจวัสดุก่อสร้างแห่งปี 2018 — ข่าวคมชัดลึก   นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ได้รับเกียรติให้เข้ารับโล่ประกาศเกียรติยศ บุคคลตัวอย่างในภาคธุรกิจวัสดุก่อสร้าง จาก … Read More

เทคนิคในการตรวจสอบงาน คสล ที่หน้างานที่ควรระมัดระวังเป็นพิเศษเวลาทำการตรวจเช็คสภาพหน้างาน

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะนำเทคนิคในการตรวจสอบงาน คสล ที่หน้างานที่ควรระมัดระวังเป็นพิเศษเวลาทำการตรวจเช็คสภาพหน้างาน ซึ่งก็คือ ระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมที่เหมาะสม นั่นเอง หากจะพูดถึงเรื่อง ระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมที่น้อยที่สุด ที่สามารถมีได้ คือ ระยะน้อยที่สุดระหว่าง (1.) ขนาดโตสุดของมวลรวมที่ใช้ในการผสมคอนกรีต (2.) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริมที่ใช้ (3.) ระยะ … Read More

1 100 101 102 103 104 105 106 207