บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ภูมิสยาม ในชุดยูนิฟอร์มใหม่ 2018

ภูมิสยาม ในชุดยูนิฟอร์มใหม่ 2018 ภูมิสยามฯ ยกระดับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน เปิดตัวชุดยูนิฟอร์มพนักงานแบบใหม่ล่าสุด ที่ออกแบบเน้นความคล่องตัวในการทำงาน ยกระดับมาตรฐานทีมงานคุณภาพที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับมาตรฐาน ISO 45001:2018 ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงาน สร้างภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น ในการให้บริการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ … Read More

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามที่ได้ถูกสอบถามเข้ามาโดยน้องวิศวกรท่านหนึ่งผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมเองว่า “ผมเคยอ่านบทความที่ผมเคยเขียนลงในเพจว่า เราควรที่จะกำหนดให้ใช้ระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มให้มีระยะที่ไม่น้อยกว่า 2.5 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโครงสร้างเสาเข็มเพื่อมิให้เสาเข็มนั้นเกิดแรงเค้นซ้อนทับ ซึ่งผมสงสัยว่าแล้วมีระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดกำหนดหรือระบุเอาไว้มาตรฐานใดๆ บ้างหรือไม่ครับ ?”   คำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดีคำถามหนึ่งเลยนะเพราะว่าคนส่วนใหญ่จะทราบดีอยู่แล้วว่าระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มน้อยที่สุดนั้นเป็นเท่าใดแต่กลับไม่ค่อยมีคนทราบว่าระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดนั้นเป็นเท่าใดกันแน่ … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เพื่อนๆ เคยหรือไม่ครับ ที่ต้องทำการก่อสร้างโครงสร้างเพิ่มเติม (STRUCTURAL EXTENSION) โดยที่เราต้องอาศัยโครงสร้างเดิม … Read More

สภาวะกำลังอัดในช่วงสภาวะใช้งานเริ่มแรกและภายหลังจากที่ทำการดึงเส้นลวดเสร็จแล้วอัดแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่า ในการกำหนดเพื่อที่จะทำการออกแบบค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตรูปทรงทรงกระบอกมาตรฐาน (STANDARD CYLINDRICAL COMPRESSIVE STRENGTH) เมื่อต้องนำมาใช้ในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทคอนกรีตอัดแรง เช่น … Read More

1 110 111 112 113 114 115 116 207