บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ทฤษฎีของคานรับแรงดัด หรือ BEAM THEORY

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้กับเพื่อนๆ ต่อจากโพสต์ของเมื่อวานนะครับ เพราะ มีเพื่อนๆ ท่านหนึ่งถามผมมาว่า เมื่อในโครงสร้างปกติค่าการเสียรูปอันเกิดจากผลของแรงเฉือนจะมีค่าที่น้อยมากๆ เมื่อเทียบกันกับผลที่เกิดจากแรงดัด แล้วเมื่อใดกันที่เราจะต้องคำนึงถึงเรื่อง SHEAR DEFORMATION ในโครงสร้าง ? จริงๆ แล้วคำถามนี้เป็นคำถามที่ดีนะครับ ผมขอชมเชยผู้ตั้งคำถามนี้ด้วยครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออธิบายถึงคำถามข้อนี้พอสังเขปดังนี้นะครับ หากย้อนอดีตกันสักเล็กน้อย เมื่อตอนที่พวกเราเรียนในวิชาจำพวก … Read More

เสาเข็มต่อเติม สร้างอาคารใหม่ ในเมือง ครับ

      เสาเข็มต่อเติม สร้างอาคารใหม่ ในเมือง ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานสร้างบ้านใหม่หรือ ต่อเติม อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติม ฐานรากอาคารใหม่ สมาคมแม่บ้านทหารบก มาฝากเพิ่มเติมครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน … Read More

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” โครงสร้างกันดินเสริมแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันลักษณะของโครงสร้างประเภทหนึ่งซึ่งจะทำหน้าที่เสมือนเป็นโครงสร้างกันดินเพียงแต่ความแตกต่างของโครงสร้างชนิดนี้ก็คือ จะเป็นการนำเอาทฤษฎีการออกแบบโครงสร้างฐานรากผนวกเข้ากับการออกแบบโครงสร้างกันดินมาใช้ในการทำงานออกแบบโครงสร้างชนิดนี้นั่นก็คือ โครงสร้างกันดินเสริมแรง หรือ REINFORCED EARTH STRUCTURE นั่นเองครับ ในการออกแบบลักษณะของโครงสร้างประเภทนี้เราจะใช้งานวัสดุดินซึ่งจะต้องได้รับการบดอัดก่อนและเนื่องจากว่าตัวดินเองนั้นมีความสามารถในการรับแรงดึงที่ต่ำมากๆ … Read More

1 153 154 155 156 157 158 159 207