การก่อสร้างโครงสร้างโครงข้อหมุนให้มีความแข็งแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างโครงข้อหมุนทั้ง 3 รูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ นี้ หากทั้งชิ้นส่วนที่อยู่ในคอร์ดบนหรือ TOP … Read More

สร้างใหม่ เลือกใช้ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อฐานรากที่มั่นคงสำหรับรองรับน้ำหนักโครงสร้าง

สร้างใหม่ เลือกใช้ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อฐานรากที่มั่นคงสำหรับรองรับน้ำหนักโครงสร้าง สร้างอาคารใหม่ ต้องใช้เสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูงในการเสริมฐานราก เพราะเสาเข็มทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้าง และป้องกันการการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างในอนาคตการเลือกใช้เสาเข็มจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ภูมิสยาม ที่ได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน มอก.397-2524 มาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018 โดยเสาเข็มชนิดนี้ … Read More

วิธีในออกแบบและก่อสร้าง ชิ้นส่วนที่คอยทำหน้าที่ค้ำยันทางด้านข้าง แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนซึ่งผมก็ได้ทำการอธิบายไปในเบื้องต้นแล้วว่า สาเหตุที่เจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติเป็นเพราะตอนที่ช่างที่ทำหน้าที่ในการติดตั้งโครงสร้างโครงหลังคาเหล็กนั้นทำการก่อสร้างโดยขาดความรู้และประสบการณ์ในการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองเพราะตามปกติแล้ววิศวกรผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบ มักจะทำการออกแบบโดยกำหนดให้ชิ้นส่วนซึ่งจะคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนั้นเป็นโครงสร้างโครงถักเหล็กตัวรองหรือ SUB-TRUSS … Read More

ปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานราก บนชั้นดินอ่อนและความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาประเด็นๆ หนึ่งที่มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกันกับปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากบนพื้นที่ๆ มีชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อนนั่นและเพราะเหตุใดการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินนั้นจึงมีความสำคัญมาก นั่นก็คือ การวิบัติของโครงสร้างเนื่องจากชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อน เอามาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านเพื่อเป็นวิทยาทานกันนะครับ จากรูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More

การเลือกขนาดความหนาของเหล็กแผ่นที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในการโพสต์เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นในเรื่องของการเลือกขนาดของความหนาของ เหล็กแผ่น หรือ STEEL PLATE ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบและรับชมกันต่ออีกสักโพสต์หนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วหากว่าผมจำไม่ผิด … Read More

การเลือกขนาดของความหนาของเหล็กแผ่นที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสออกไปทำการตรวจงานการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและได้มีการพูดคุยกับวิศวกรที่หน้างาน ซึ่งทางวิศวกรท่านนี้ได้สอบถามคำถามๆ หนึ่งซึ่งผมคิดว่ามีความน่าสนใจนั่นก็คือ   “เพราะเหตุใดผมจึงได้เลือกทำการออกแบบและกำหนดให้มีการใช้เหล็กแผ่นที่ค่อนข้างจะมีความหนามากสักหน่อยในการก่อสร้างโครงสร้างส่วนที่เป็น CANOPY บริเวณภายนอกของอาคาร โดยจะสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเหล็กแผ่นส่วนนี้จะมีขนาดของความหนามากกว่าตรงส่วนอื่นๆ ค่อนข้างมากเลยครับ ?”   ก่อนอื่นผมต้องขอชมเชยวิศวกรท่านนี้นะว่าคำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดีและมีความน่าสนใจมาก … Read More

การคำนวณหาค่า Equivalent Force Matrix และ Fixed End Forces Matrix ของโครงสร้าง Rigid Frame

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

การเลือกระบบโครงสร้างที่มีผลตอบสนองตรงตามที่ต้องการ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมทำการสมมติและกำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า เพื่อนๆ เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้และเพื่อนๆ สามารถที่จะทำการก่อสร้างโครงสร้าง PORTAL FRAME ดังรูปได้ภายในระยะเวลาในการทำงานก่อสร้างที่ไม่ได้ถูกจำกัดอะไรมากมายนัก อีกทั้งการก่อสร้างตัวโครงสร้างคานในรูป … Read More

ค่าความแข็งเกร็งต่อการเสียรูปทางด้านข้างของโครงสร้างPortalFrame

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากการที่เมื่อในหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ ผมได้นำเอารูปๆ นี้มาทำการตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์ไป โดยที่ในการโพสต์ครั้งก่อนหน้านั้นผมได้ถามไปว่า หากผมทำการสมมติและกำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า เพื่อนๆ เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้และเพื่อนๆ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่าของEcและEce

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากโครงสร้างๆ หนึ่งของผมต้องทำหน้าที่ในการรับกำลังอัดแบบเพิ่มค่าที่มีอัตราการคงค้างของน้ำหนักบรรทุกที่สูงมากๆ เป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างจะต่อเนื่องและยาวนาน หากผมทราบได้จากการนำเอาตัวอย่างของคอนกรีตชุดนี้ไปทำการทดสอบในห้องปฏิบัติการ ผมก็จะพบว่าโครงสร้างๆ นี้จะมีค่ากำลัดอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 83