ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างโครงหลังคาโครงข้อหมุน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาพูดและให้ความรู้ถึงรายละเอียดต่างๆ และส่วนประกอบรองของโครงสร้างโครงหลังคาที่เป็นโครงข้อหมุนหรือว่า TRUSS STRUCTURE ต่อเนื่องจากเนื้อหาในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในครั้งที่แล้วว่าในส่วนของ โครงสร้างส่วนรอง ก็จะได้แก่ (1) โครงสร้างค้ำยันทางด้านข้าง … Read More

การตอบคำถามทางวิชาการประจำสัปดาห์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสรับฟังถึงเรื่องราวเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับคำถามๆ หนึ่งที่คุณครูได้ใช้ในการสอบถามเด็กนักเรียนในชั้นเรียน ซึ่งคำตอบข้อนี้ถือได้ว่ามีความน่าสนใจเป็นอย่างมากเลยทีเดียว โดยที่โจทย์ปัญหาในวันนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ครับ คุณครูผู้หญิงท่านหนึ่งได้พูดคุยกับเด็กๆ ในชั้นเรียนของเธอจำนวน 3 คนว่า หากว่าครูให้เงินแก่พวกเธอทุกๆ คน คนละ “10 บาท” เท่ากันๆ และพวกเธอต้องเดินไปซื้อขนมและจะต้องจ่ายเงินค่าขนมที่ซื้อเป็นจำนวนเงินเท่ากับ “3 บาท” … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษ ไว้ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   วันนี้ผมจะนำเอารูปตัวอย่างของรายละเอียดและวิธีการในการเสริมเหล็กในงานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กจากงานจริงๆ ที่ผมมีโอกาสได้ไปประสบพบเจอมาในการทำงานจริงๆ มาฝากให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบเป็นข้อมูลเอาไว้ โดยที่รายละเอียดในวันนี้ก็คือ การเสริมเหล็กเสริมพิเศษเอาไว้ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับกรณีที่มีการฝังท่อเอาไว้โดยที่ให้ผ่านโครงสร้างส่วนนั้นๆ โดยมีเหตุจำเป็น (รูปที่1) (รูปที่2) (รูปที่3) หากเพื่อนๆ ดูรูปที่ 1 … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ผมได้พูดและอธิบายถึงเรื่องค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินหรือว่าค่า Esoil จบไปก่อนหน้านี้แล้ว อีกทั้งเรายังออกนอกเรื่องไปอีกสองสัปดาห์ด้วย ผมคิดว่าวันนี้เราน่าจะกลับเข้าสู่เรื่องที่ผมกำลังอธิบายค้างเพื่อนๆ อยู่จะดีกว่านั่นก็คือ การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น ซึ่งพวกเราทุกคนก็คงจะทราบกันดีอยู่แล้วว่าสำหรับฐานรากประเภทนี้ตัวโครงสร้างของฐานรากเองนั้นจะมีความยืดหยุ่นตัวหรือพูดง่ายๆ ก็คือ สามารถที่จะมีการเคลื่อนตัวได้   … Read More

ปัญหาเรื่องการจัดการเมตริกซ์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยสืบเนื่องจากในช่วงนี้ผมกำลังพูดถึงเรื่องหลายๆ หัวข้อที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการจัดการเมตริกซ์ ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมมีเมตริกซ์ M ที่มีจำนวนแถวเท่ากับ 4 และจำนวนหลักเท่ากับ 3 หากผมต้องการที่จะคูณเข้ากับเมตริกซ์ N … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากอาคาร โรงงาน สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากอาคาร โรงงาน สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ผลิตโดยใช้นวัตกรรมแบบใหม่ ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย เป็นเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคาร โรงงาน ที่ต้องการความั่นคงแข็งแรงสูง สามารถรองรับน้ำหนักเครื่องจักรได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test พร้อมรับประกันผลงานนานถึง … Read More

เสาเข็มในฐานรากเดี่ยว เกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากกว่าค่าที่ยอมรับได้ โดยใช้คานยึดรั้ง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยที่โจทย์ในวันนี้จะมีรายละเอียดและใจความว่า จากรูปที่แสดงในโพสต์ๆ นี้จะเห็นได้ว่าเสาเข็มที่จะต้องทำหน้าที่รับน้ำหนักจากเสาตอม่อ C1F1N2 ที่อยุ่ที่ตำแหน่งของฐานราก F1N2 นั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากกว่าค่าที่ยอมรับได้ หากว่าผมได้ทำการกำหนดให้แก่เพื่อนๆ ว่าเสาตอม่อทั้ง 4 ต้น ในอาคารหลังนี้จะมีการรับน้ำหนักที่เท่าๆ กันในทุกๆ ต้น โดยเราจะสามารถแบ่งแยกน้ำหนักบรรทุกใช้งานข้างต้นได้ออกเป็น น้ำหนักบรรทุกคงที่ใช้งานซึ่งมีขนาดเท่ากับ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาทำการขยายความคำตอบจากคำถามของเพื่อนสมาชิกของพวกเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเข้าในเพจส่วนตัวของผมโดยมีใจความว่า   “พี่ครับ บ้านผมอยู่จังหวัด ……… (จังหวัดหนึ่งทางภาคอีสาน) หากที่บ้านของผมเค้าอยากจะทำการก่อสร้างพื้นตรงบริเวณโรงจอดรถที่มีหลังคาคลุม ไม่ทราบว่าผมจะต้องบอกให้ทางพี่ ผรม ทำการเทพื้นหนาเท่าไหร่ดีและควรจะต้องเสริมด้วยเหล็กขนาดเท่าใดและกำหนดให้มีระยะห่างเท่าใดดีครับ ?” … Read More

ปัญหาการคำนวณหาแรงกระทำในเสาเข็มในกรณีที่มีระยะเยื้องศูนย์เกิดขึ้นในการตอกโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยสืบเนื่องจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาที่ผมได้แชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ไปถึงเรื่อง เรื่องปัญหาของการก่อสร้างฐานรากโดยที่ใช้เสาเข็มแบบเดี่ยวว่าจะมีโอกาสสร้างปัญหาอะไรให้แก่เราได้บ้างซึ่งก็รวมถึงแนวทางในการแก้ไขและป้องกันปัญหาดังกล่าวด้วย ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมมีตอม่อ คสล ที่จะต้องทำหน้าที่ถ่ายน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งใช้งานรวม ซึ่งน้ำหนักดังกล่าวจะมีลักษณะเป็นแรงกระทำตามแนวแกนและมีค่าเท่ากับ 24 ตัน โดยที่ตอม่อต้นนี้จะถูกกำหนดให้มีการวางตัวอยู่บนฐานราก … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาทำการตอบคำถามจากเพื่อนสมาชิกของพวกเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเข้าในเพจส่วนตัวของผมโดยมีใจความว่า   “พี่ครับ บ้านผมอยู่จังหวัด ……… (จังหวัดหนึ่งทางภาคอีสาน) หากที่บ้านของผมเค้าอยากจะทำการก่อสร้างพื้นตรงบริเวณโรงจอดรถที่มีหลังคาคลุม ไม่ทราบว่าผมจะต้องบอกให้ทางพี่ ผรม ทำการเทพื้นหนาเท่าไหร่ดีและควรจะต้องเสริมด้วยเหล็กขนาดเท่าใดและกำหนดให้มีระยะห่างเท่าใดดีครับ ?” … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 83