บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

จะสร้างบ้านใหม่ ทางเข้าบ้าน แคบมาก จะตอกเสาเข็มได้ไหมครับ แนะนำหน่อยครับ?

จะสร้างบ้านใหม่ ทางเข้าบ้าน แคบมาก จะตอกเสาเข็มได้ไหมครับ แนะนำหน่อยครับ? สวัสดีครับ ด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ สามารถทำงานในที่แคบได้ ช่วงนี้งานต่อเติมบ้าน อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียม จะสร้างบ้านใหม่ ทางเข้าบ้าน แคบมาก มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

ต่อเติมโรงงานอมตะนคร ชลบุรี – สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ

ต่อเติมโรงงานอมตะนคร ชลบุรี – สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมโรงงาน สร้างบ้านใหม่ หรือ ต่อเติมบ้าน อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียมต่อเติมโรงงาน … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ตอบปัญหาการคำนวณค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ตามทฤษฎีของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับโดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าเป็นรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างหนึ่ง ซึ่งที่ปลายด้านล่างนั้นมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดแน่นหรือ FIXED SUPPORT และที่ปลายด้านบนนั้นมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดหมุนหรือ PINNED … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE มีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ NON-SHRINK GROUT ประเภทที่ 2 แบบที่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หากสังเกตดูจากรูป ใต้เหล็กแผ่นจะมีการเทให้เต็มด้วย NON-SHRINK … Read More

1 119 120 121 122 123 124 125 207