บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

โครงการ อาหารกลางวัน

โครงการ อาหารกลางวัน บจก. ภูมิสยาม ซัพพลาย (BSP-Bhumisiam) ได้จัดกิจกรรม เลี้ยงอาหารกลางวัน คนไร้ที่พึ่ง จำนวน 550 ที่ พร้อมทั้งบริจาคสิ่งของ เครื่องใช้ ที่สถานสงเคราะห์ คนไร้ที่พึ่งหญิง อ.ธัญญบุรี จ.ปทุมธานี ขอขอบพระคุณผู้มีจิตเมตตาทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมครั้งนี้ … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เพื่อป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เพื่อป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่นิยมใช้ในงานต่อเติมบ้าน เพราะช่วยหยุดปัญหาการต่อเติมบ้านแล้วทรุด ในทุกการต่อเติม ปัญหาที่มักจะพบบ่อยคือการทรุดตัวของส่วนต่อเติม เนื่องจากการตอกเสาเข็มไม่ได้ความลึกที่เพียงพอต่อการรับน้ำหนัก ทำให้ฐานรากไม่สามารถรับน้ำหนักของส่วนต่อเติมได้ จึงเกิดการทรุดตัวและนำมาซึ่งการเกิดความเสียหาย และเสียเวลา ดังนั้นควรแก้ปัญหานี้ด้วยการเลือกตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เพราะเป็นเสาเข็มที่ตอบโจทย์การต่อเติมบ้าน สามารถเข้าตอกในพื้นที่จำกัดได้อย่างสะดวก และทางภูมิสยาม มีวิศวกรกำกับดูแลงาน … Read More

เสาเข็ม มาตรฐาน มอก. เพื่อการต่อเติมบ้าน ยังคงมาแรงครับ

เสาเข็ม มาตรฐาน มอก. เพื่อการต่อเติมบ้าน ยังคงมาแรงครับ สวัสดีเช้าวันพุธครับ วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพเสาเข็มเพื่อต่อเติมฐานรากบ้าน มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam พร้อมบริการเสมอ เราสามารถทำงานภายใน อาคาร หรือ ที่แคบได้ … Read More

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต

เพราะเหตุใด?? เสาเข็มไมโครไพล์ ของภูมิสยามจึงจะต้องอาศัยกระบวนการในการหล่อคอนกรีตโดยการให้แรงเหวี่ยง หลักการพื้นฐานของการตอกเสาเข็มคือ การทำให้ “พลังงาน” หรือ “ENERGY” แก่โครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการ “ตอก” เสาเข็มลงไปในดิน ซึ่ง “ปริมาณ” ของพลังงานที่จะทำการใส่ลงไปในดินนั้นจะมีค่าที่ มาก หรือ น้อย ก็จะขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่น … Read More

1 150 151 152 153 154 155 156 207