ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด 

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด  จะต่อเติมบ้าน ควรตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติม และเพื่อไม่ให้มีผลเสียเกิดขึ้นกับตัวบ้านในภายหลัง เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีต (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและพื้นที่ใกล้เคียง สามารถป้องกันการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างได้ตรงจุด และยังเสริมความแข็งแรงให้กับตัวโครงสร้างเดิม เสาเข็มได้รับมาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO … Read More

หน่วยแรงเฉือนตามแนวยาวในโครงสร้างคานเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   ผมมีหน้าตัดของโครงสร้างเหล็กรูป C-LIGHT LIP อยู่คู่หนึ่งและเมื่อได้ทำการออกแบบให้โครงสร้างคานนี้มีสมรรถนะที่ดีทั้งในสภาวะกำลังและสภาวะการใช้งานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผมจึงทำการคำนวณค่า MAXIMUM … Read More

โครงสร้างฐานรากและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาเหตุผลหนึ่งของการอาศัยวิธีการจำลองให้โครงสร้างเสาเข็มโดยอาศัยหลักการของ SOIL SPRING นั่นก็คือ ทฤษฎีของคานที่วางอยู่บนฐานรากที่มีความยืดหยุ่น หรือ ในภาษาอังกฤษจะมีชื่อเรียกว่า THEORY OF … Read More

โครงสร้างฐานรากและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีเพื่อนที่เป็นแฟนเพจท่านหนึ่งได้สอบถามเข้ามาในโพสต์เก่าโพสต์หนึ่งที่ผมเคยได้เขียนเอาไว้เป็นบทความที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การวิเคราะห์โครงสร้างเสาเข็มโดยใช้ SOIL SPRING โดยที่รายละเอียดของคำถามนั้นมีใจความดังต่อไปนี้ครับ … Read More

Puzzle 113

posted in: puzzle

Puzzle 113 วันนี้ Miss.Spunpile มีเกมส์ทดสอบสายตา เป็นการสังเกตหาของที่ซ่อนอยู่ในภาพ โดยในภาพจะมีเครื่องมือช่างซ่อนอยู่ 9 ชิ้น มีเฉลยอยู่ด้านล่าง แต่ห้ามเปิดดูก่อนนะคะ Miss Spunpile  Bhumisiam (ภูมิสยาม) บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุด บ้านแต่ละหลังมักจะมีการทรุดตัว แต่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับวิธีในการป้องกัน การเลือกใช้เสาเข็มก็เป็นวิธีที่สำคัญในการป้องกันการทรุดตัวของโครงสร้างบ้านได้อย่างตรงจุด เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ภูมิสยาม เสาเข็มที่ได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 มาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018 … Read More

ความรู้และตัวอย่าง เรื่องรั้วป้องกันโดยรอบสถานที่ก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้โพสต์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “วิศวกรรมความปลอดภัย” หรือ “SAFETY ENGINEERING” ให้กับน้องผู้หญิงท่านหนึ่งรวมถึงเพื่อนๆ ทุกคนๆ ไป ปรากฏว่าน้องท่านนี้ก็น่าที่จะได้รับข้อมูลดีๆ จึงฝากคำขอบคุณเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมพร้อมกับมีคำถามพ่วงท้ายมาด้วยเล็กน้อยว่า   “หากหนูอยากจะทราบถึงเรื่อง … Read More

โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ได้ถูกนำไปใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ก็มีคำถามเข้ามาจากน้องท่านหนึ่งในทำนองที่ว่า ยังไม่ค่อยเข้าใจความแตกต่างระหว่าง “โครงสร้างเหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก” กับ “โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก” ผมจึงคิดว่า จะมาทำการอธิบายประเภทของเหล็กเสริมทั้ง 2 ชนิดนี้ให้แก่เพื่อนๆ … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุม ของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ในวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาตัวอย่างของการคำนวณเรื่องเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิดเอามาฝากแก่เพื่อนๆ กันอีกสักหนึ่งโพสต์ก็แล้วกันและเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาเริ่มต้นดูกรณีของการเสริมเหล็กในครั้งนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ผมมีพื้นๆ หนึ่งที่มีการเสริมเหล็กใน 1 ชั้น ซึ่งเหล็กบนจะเท่ากับ DB12mm@150mm ส่วนเหล็กล่างจะเท่ากับ DB12mm@200mm … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษ ในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอารูปที่แสดงถึงขั้นตอนของการเตรียมการผูกเหล็กเสริมในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด ซึ่งผมได้ทำการถ่ายรูปมาจากหน้างานที่มีผมเป็นผู้ควบคุมการทำงาน โดยที่ผมจะต้องขอหมายเหตุให้เพื่อนๆ ทราบเอาไว้ก่อนว่า รูปๆ นี้ยังไม่ใช่รูปการทำงานที่เสร็จสมบูรณ์พร้อมสำหรับการเทคอนกรีตนะครับ ทั้งนี้สาเหตุที่เรามีความจำเป็นที่จะต้องทำการใส่รายละเอียดของเหล็กเสริมในบริเวณขอบและมุมของแผ่นพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่เหมือนเช่นในรูปก็เป็นเพราะว่า เมื่อในแผ่นพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ของเรานั้นไม่ได้แผ่ออกไปในลักษณะเป็นผืนเดียวกันเพราะจะมีช่องเปิดเกิดขึ้น ลักษณะดังกล่าวนี้จะส่งผลโดยตรงต่อเส้นทางของแรงในแผ่นพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่หรือที่เรามักจะเรียกกันว่า LOAD PATH … Read More

1 10 11 12 13 14 15 16 83