การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ผมยังวนเวียนอยู่กับการตอบคำถามให้แก่แฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่อง เสาเข็มที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดหรือ BENDING FORCE ร่วมกันกับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL FORCE ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งประเด็นล่าสุดที่แฟนเพจท่านนี้ได้ทำการสอบถามเข้ามานั้นก็คือ … Read More

วิธีในการคำนวณหาตำแหน่งที่จะใช้ เพื่อการคำนวณหาค่าการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่ง ที่มีค่ามากที่สุดในคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายไปว่า สำหรับกรณีที่โครงสร้างคานรับแรงดัดของเรานั้นมีจุดรองรับอยู่ที่ปลายของทั้งสองด้าน ค่าการโก่งตัวในแนวดิ่งสูงสุดหรือ MAXIMUM VERTICAL DEFLECTION จะเกิดขึ้นที่ตำแหน่งที่ค่ามุมของการหมุนหรือ ANGLE OF ROTATION นั้นมีค่า “น้อยที่สุด” … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในตอนแรกผมมีความตั้งใจว่าในสัปดาห์นี้ผมจะทำการโพสต์เนื้อหาที่มีความเกี่ยวเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วเกี่ยวกับเรื่อง โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES แต่เนื่องจากผมได้รับคำถามเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งอยากจะให้ผมทำการอธิบายว่า “หากมีการระบุเอาไว้ว่า เสาเข็มต้านหนึ่งๆ จะต้องมีความสามารถในการรับโมเมนต์ดัดหรือ … Read More

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมงานฐานรากและงานดินนั่นก็คือ โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES นั่นเองนะครับ   จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันมิให้ดินพังนั้นก็ค่อนข้างที่จะตรงไปตรงมานั่นก็คือ … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ วิธีการตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้างเสาเข็ม และวิธีในการกองเก็บที่ถูกต้องที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้รุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพและรักท่านหนึ่งได้ไปทำงานการตอกเสาเข็ม คอร ชนิดทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่ในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและไปพบเจอเข้ากับความเสียหายของเสาเข็มก่อนที่จะนำมาใช้ในการตอกจริง พี่ท่านนี้จึงได้ทำการ REJECT เสาเข็มชุดนั้นไปหลายต้นเลย วันนี้ผมจึงได้ขออนุญาตรุ่นพี่ท่านนี้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของความเสียหายของเสาเข็มที่เราอาจจะพบเจอได้ที่หน้างานมาฝากเพื่อนๆ … Read More

ต่อเติมบ้าน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) หมดปัญหาเรื่องการทรุดตัวของส่วนต่อเติม

ต่อเติมบ้าน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) หมดปัญหาเรื่องการทรุดตัวของส่วนต่อเติม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีแรงเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง ทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูง ตอกเสาเข็มชนิดนี้เพื่อป้องกัน การทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด เพื่อไม่ให้มีผลเสียเกิดขึ้นกับตัวบ้านในภายหลัง และยังสามารถตอกชิดกำแพงบ้านได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม เพราะขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก อีกทั้งปั้นจั่นที่ใช้มีการออกแบบมาพิเศษ เพื่อใช้สำหรับตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

ปัญหาการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีเสาเข็มไมโครไพล์อยู่หนึ่งต้นที่ได้ทำการตอกลงไปในดินเป็นที่เรียบร้อยแล้วและผลจากการคำนวณก็พบว่าเสาเข็มต้นนี้จะมีคุณสมบัติต่างๆ ดังต่อไปนี้   มีกำลังรับแรงใช้งานในแนวดิ่งเนื่องจากแรงฝืดของดินเท่ากับ 25 … Read More

ปัญหาการคำนวณหาระยะในการยกที่จะส่งผลดีที่สุดต่อหน้าตัดของแท่งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ ต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง พื้นฐานการคำนวณทางด้านกลศาสตร์ เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากปัญหาที่ผมได้ทำการตั้งเป็นคำถามประจำวันเสาร์ที่ผ่านมาซึ่งผมได้ถามเพื่อนๆ ไปว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเคลื่อนย้ายโดยที่ผมจะใช้วิธีการยกแท่งคอนกรีตขนาดความยาวเท่ากับ 20 เมตร ซึ่งมีน้ำหนักเท่ากับ 2 ตัน … Read More

การเลือกใช้ Model ที่เหมาะสมในการ FitCurve

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้ โดยสืบเนื่องจากในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ไปอ่านเจอในคำถามในเพจๆ หนึ่งซึ่งผมก็ได้มีโอกาสได้ไปตอบคำถามด้วย ซึ่งผมก็เห็นว่าคำถามจากเพจๆ นี้น่าที่จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนหลายๆ คน ผมจึงทำการขออนุญาตทางแอดมินเพจนั้นเพื่อนำเอาคำถามข้อเดียวกันนั้นมาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์ของเราซึ่งผมก็ต้องขอขอบพระคุณไปยังแอดมินของเพจนั้นด้วยที่ได้อนุญาตให้ผมนำเอาคำถามดังกล่าวมาถามเพื่อนๆ ในวันนี้และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   หากผมมีความต้องการที่จะทำการสร้างสมการขึ้นมาสักสมการหนึ่งจากชุดข้อมูลหนึ่งๆ โดยอาศัยวิธีการ FIT CURVE หากผมจะอาศัยการสร้าง REGRESSION MODEL … Read More

วิธีในการแก้ไขปัญหา เรื่องรอยร้าวที่เกิดขึ้นเนื่องจากอาคารทั้งสองนี้เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วว่าวันนี้ผมจะหยิบยกและนำเอาวิธีการในการแก้ไขปัญหาของกรณีปัญหาที่เกิดจากการที่มีรอยร้าวเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากอาคารใหม่และอาคารเก่านั้นมีการทำการก่อสร้างทางเชื่อมอาคารและอาคารทั้งสองนั้นก็เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกันมาฝากเพื่อนๆ ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้ถือเป็นวิธีการที่อาศัยหลักการพื้นฐานง่ายๆ ดังนั้นจึงสามารถที่จะประยุกต์ใช้ได้กับเกือบทุกๆ อาคารเลยนั่นก็คือ ทำการก่อสร้างทางเชื่อมโดยอาศัยระบบโครงสร้างที่ทำการก่อสร้างแบบแยกส่วนนั่นเอง เอาเป็นว่าเพื่อนๆ สามารถที่จะดูรูปภาพประกอบคำอธิบายของผมก็ได้นะครับ   จากรูปจะเห็นได้ว่าเรามีกรณีที่มีอาคารเก่าอยู่อาคารหนึ่ง ต่อมาก็มีการก่อสร้างอาคารใหม่ขึ้นข้างๆ อาคารหลังนี้ หรือ อีกกรณีหนึ่งก็คือ … Read More

1 13 14 15 16 17 18 19 83